top of page

การชี้บ่งเพื่อตรวจสอบผลิตภัณฑ์แบบง่ายๆ ไม่ยุ่งยาก

สำหรับผู้ผลิตลวดเชื่อมที่มีมากมายในประเทศไทย ผู้ผลิตลวดเชื่อมโดยปกติจะมีพิมพ์ไว้ข้างกล่องลวด โดยจะมีการชี้บ่ง เช่น ยี่ห้อ, เกรดของลวดเชื่อม, ขนาด x ความยาวลวด เราขอแนะนำเครื่องพิมพ์วันที่ผลิต (Manufactured Date)  วันหมดอายุ (Expiry Date) โลโก้-เครื่องหมายร้านค้า (Logo) บาโค้ด  (Barcode)  ระบบ TIJ ink jet printer by HP (Hewlett Packard)

 

การเชื่อมโดยใช้ลวดเชื่อมหุ้มฟลั๊กซ์ (SMAW) หรือที่เรามักเรียกกันว่าก้านเชื่อมธูป บางตำรามักเรียกกันว่า Manual Metal Ac (MMA) หรือ Stick Welding การเชื่อมแบบนี้ลวดเชื่อมจะมีฟลั๊กซ์หุ้มภายนอกแกนลวด และกระแสไฟฟ้าจะถูกส่งผ่านแกนลวดเชื่อม ไปยังส่วนปลายกระแสไฟฟ้าที่มีทั้ง ชนิดกระแสตรง (DC) และชนิดกระแสสลับ (AC) การเลือกใช้งานควรเป็นไปตามคำแนะนำของผู้ผลิตลวดเชื่อม โดยปกติจะมีพิมพ์ไว้ข้างกล่องลวด โดยจะมีการชี้บ่ง เช่น ยี่ห้อ, เกรดของลวดเชื่อม, ขนาด x ความยาวลวด, ชนิดกระแสไฟที่แนะนำให้ใช้งานในแต่ละท่าเชื่อม, ชนิดฟลั๊กซ์หุ้ม เป็นต้น กระแสไฟจะถูกส่งผ่านแหล่งจ่ายโดยทั่วไปจะเป็นเครื่องเชื่อม การเริ่มต้นเชื่อมสำหรับลวดเชื่อมหุ้มฟลั๊กซ์ทำได้ 2 วิธี คือการเขี่ยอาร์คและการแตะ ปลายลวดกับผิวชิ้นงานแล้วยกขึ้นในระยะที่เหมาะสม เพื่อคงการอาร์คไว้ ขณะอาร์คจะมีความต้านทานระหว่างปลายลวดกับผิวชิ้นงานเกิดเป็นความร้อนที่สูง ซึ่งสูงพอที่จะหลอมละลายได้ทั้งผิวชิ้นงานและปลายลวดเชื่อม ให้เกิดการหลอมรวมตัวกันเป็นเนื้อโลหะรอยเชื่อม

ทั้งนี้เพื่อ “การชี้บ่งเพื่อตรวจสอบผลิตภัณฑ์แบบง่ายๆ ไม่ยุ่งยาก” ผู้บริโภคจะทราบได้อย่างไรว่าลวดเชื่อมที่ใช้อยู่ภายใต้แบรนด์อะไร (Brand) เราจึงแนะนำเครื่องพิมพ์วันที่ผลิต (Manufactured Date)  วันหมดอายุ (Expiry Date)   โลโก้-เครื่องหมายร้านค้า (Logo) บาโค้ด  (Barcode)  ที่ใช้งานแบบไม่ซับซ้อนให้กับผู้ผลิตระบบเทอร์มอล อิ้งเจ็ตพรินเตอร์ (TIJ ink jet printer by HP)

ptasia coding marking sealing labeling packing

 

 

 

 

 

ผู้เขียนบทความ

นางสาวดวงพร  เชยอรุณ (ต้อม)

Duangporn@ptasia.biz

bottom of page